เตรียมตัวสอบ สอวน คอมพิวเตอร์ เพื่อเข้าค่าย 1 EP4: ปีอธิกสุรทิน Leap Year
เตรียมตัวสอบ สอวน คอมพิวเตอร์ เพื่อเข้าค่าย 1 EP4: ปีอธิกสุรทิน Leap Year
เตรียมตัวสอบ สอวน คอมพิวเตอร์ เพื่อเข้าค่าย 1 EP4: ปีอธิกสุรทิน Leap Year
เตรียมตัวสอบ สอวน คอมพิวเตอร์ เพื่อเข้าค่าย 1 EP3: การเขียนโปรแกรมที่มีการทำงานซ้ำ (Loop)
เตรียมตัวสอบ สอวน คอมพิวเตอร์ เพื่อเข้าค่าย 1 EP2 : การเขียนโปรแกรมที่มีการตัดสินใจ(ทางเลือก) If-Else
โจทย์ข้อนี้ยังวนเวียนอยู่กับเรื่องวัน เดือน ปีครับ เพราะหลาย ๆ ระบบในชีวิตจริงก็มักจะมีการประมวลผลเกี่ยวกับเวลาอยู่เสมอ ๆ ดังนั้นโจทย์ข้อนี้นักเรียนจะได้ฝึกการคิดอย่างเป็นระบบ การคิดอย่างเป็นขั้นตอน และการพิจารณาถึงเงื่อนไขสำคัญของการทำงานของโปรแกรมครับ โดยโจทย์มีอยู่ว่า…
ในการคำนวณอายุ สามารถนำปีปัจจุบัน – ปีเกิด ก็จะทราบอายุโดยประมาณ แต่ถ้านำเดือนปัจจุบัน – เดือนเกิดก็จะทราบเดือนด้วย
แต่อาจจะต้องพึงระวัง เช่น ครูโจ๊กเกิดเดือน 9 ปี 2529 และปัจจุบันคือเดือน 7 ปี 2565 จะได้ 2565 – 2529 = 36 และ 7 – 9 = -2 หมายความว่าจะต้องไปลดอายุลง 1 ปี จาก 36 เหลือ 35 และจำนวนเดือนที่ได้จะเป็น 12 – 2 = 10 นั่นคือปัจจุบันครูโจ๊กอายุ 35 ปี 10 เดือน
ข้อสอบข้อนี้ เป็นเรื่องที่อยู่รอบตัวเราเองครั้ง หลายคนคงเลยสั่งสินค้าจากแอปพลิเคชันออนไลน์ต่าง ๆ และเมื่อเราสั่งแล้วก็จะมีการกำหนดวันที่สินค้าจะเดินทางมาถึงใช่ไหมครับ เรามาดูกันว่าโจทย์ข้อนี้เป็นอย่างไร
…
บริษัทขนส่งที่ส่งสินค้าจากจีนมายังประเทศไทยมักจะใช้เวลาส่งของ 15 – 30 วัน โดยบริษัทจะประมาณการล่วงหน้าให้ทราบว่าสินค้าที่สั่งจะใช้เวลากี่วัน
ถ้าครูโจ๊กสั่งสินค้าจากจีนวันที่ 15 เดือน 6 และบริษัทขนส่งแจ้งว่าจะได้รับสินค้าภายใน 20 วัน หมายความว่าครูโจ๊กจะได้รับสินค้าในวันที่ 5 เดือน 7 (กำหนดให้ 1 เดือน เท่ากับ 30 วัน)
สำหรับโจทย์ข้อนี้ ผมได้ประยุกต์กับสถานการณ์ของภาครัฐที่เคยมีนโยบายช่วยเหลือเกษตรกรในกรณีที่เกิดภัยพิบัติความเสียหายเกี่ยวกับพืชผลทางการเกษตร เช่น น้ำท่วมครับ โดยโจทย์นี้มีเนื้อหาอยู่ว่า…
รัฐบาลประกาศที่จะช่วยเหลือเกษตรกรที่ประสบภัยน้ำท่วม โดยมอบเงินให้ตามจำนวนที่ดิน เป็นเงิน ไร่ละ 1,000 บาท แต่ยอดเงินช่วยเหลือรวมต้องไม่เกิน 10,000 บาท
(เศษจากไร่ให้คิดเป็น 1 ไร่ เช่น 1 ไร่ กับ 1 ตารางเมตร ให้คิดเป็น 2 ไร่)
ข้อสอบกลางภาคข้อนี้ ต้องการวัดความเข้าใจนักเรียนเกี่ยวกับการคิดอย่างเป็นลำดับ และการใช้ operator ในภาษาไพทอนครับ
โดยโจทย์รถไฟฟ้ามาหานะเธอ เรื่องราวก็มีอยู่ว่า…
สถานีรถไฟฟ้าประเทศหนึ่ง มีตู้สำหรับให้ผู้ใช้รถไฟฟ้าซื้อบัตรได้อัตโนมัติ โดยเลือกสถานีปลายทางที่ต้องการลง และระบบจะบอกราคาค่าโดยสารที่ต้องจ่าย
โดยผู้ซื้อบัตรจะต้องจ่ายเงินให้มากกว่าสถานีปลายทางที่ต้องการลง(บังคับ)
จากนั้นตู้จำหน่ายบัตรจะจ่ายบัตรและเงินทอนให้ผู้ใช้รถไฟฟ้าเป็นเหรียญทั้งหมด โดยเหรียญที่ทอนจะมีเหรียญ 1, 2, 5 และ 10 บาทเท่านั้น และจะทอนเหรียญที่มีมูลค่าสูงสุดก่อน
จากครั้งที่ผ่านมาเราทดลองเขียนโปรแกรมรับเลขจำนวนเต็ม 5 จำนวนแล้วหาค่าเฉลี่ย ในครั้งนี้เรามาลองเขียนโปรแกรมให้รับเลข n จำนวน (ไม่ระบุจำนวน) แล้วหาค่าเฉลี่ยดูนะครับ ว่าจะทำอย่างไรดี ทำได้หรือเปล่า
ในตอนนี้เรายังอยู่กันที่การเขียนโปรแกรมที่มีการทำงานซ้ำครับ และโจทย์ในวันนี้ก็คือ
Title: รับเลขจำนวนเต็ม 5 จำนวนแล้วหาค่าเฉลี่ย
ให้นักเรียนเขียนโปรแกรมรับเลขจำนวนเต็ม 5 จำนวน แล้วหาค่าเฉลี่ย (ทศนิยม 2 ตำแหน่ง)
โจทย์ครั้งนี้เรายังอยู่กันที่การทำงานซ้ำ โดยการใช้คำสั่ง for() ครับ แต่ประยุกต์เพิ่มเติมจากครั้งที่ผ่านมานิดนึง คือให้ทำงานซ้ำตามจำนวน n รอบ ที่ระบุหรือป้อนเข้าไปในโปรแกรม เราไปลองทำกันเลยดีกว่าครับ