โปรแกรมคำนวณอย่างง่าย (พื้นที่สามเหลี่ยม)
หลังจากที่เราเขียนโปรแกรมแสดงผล และรับค่าจากคีย์บอร์ดได้แล้ว เรามาลองเขียนโปรแกรมคำนวณอย่างง่ายดูครับ ตามลิงค์นี้เลย https://elabsheet.org/elab/taskpads/show/48cjfb2u19/
หลังจากที่เราเขียนโปรแกรมแสดงผล และรับค่าจากคีย์บอร์ดได้แล้ว เรามาลองเขียนโปรแกรมคำนวณอย่างง่ายดูครับ ตามลิงค์นี้เลย https://elabsheet.org/elab/taskpads/show/48cjfb2u19/
วันนี้เรามาเรียนรู้วิธีการรับค่าข้อมูลจากคีย์บอร์ดในภาษาไพทอนเข้าไปเก็บในตัวแปรกันครับ ตามลิงก์นี้เลย https://elabsheet.org/elab/taskpads/show/74em5shqvf/
เรามาเริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษาไพทอนกันดีกว่าครับ หรือสำหรับคนที่เคยเขียน เขียนเป็นอยู่แล้ว เรามาลองทำโจทย์วันละข้อ ไปเรื่อย ๆ กันครับ สำหรับโจทย์แรกวันนี้คือการเรียนรู้คำสั่งแสดงผลหรือคำสั่ง Print นั่นเอง มาลุยกันเลย ตามลิงค์นี้ครับ https://elabsheet.org/elab/taskpads/show/fyzvuur3p3/
คลิปนี้อธิบายเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมคำนวณเบื้องต้นด้วยภาษาไพทอนครับ ซึ่งจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการใช้คำสั่งรับค่า การเขียนโปรแกรมเพื่อคำนวณ และการใช้คำสั่งแสดงผลครับ เมื่อเรียนจบแล้ว ลองมาทำแบบทดสอบนี้ดูนะครับ https://elabsheet.org/elab/taskpads/show/6saz8zxr7r/
คลิปนี้แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาไพทอนที่มีการใช้ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ครับ
คลิปนี้แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาเบื้องต้น ในเรื่องของการรับค่าข้อมูลจากคีย์บอร์ดเข้าไปเก็บที่ตัวแปรครับ ซึ่งจะขอแนะนำไว้ 3 รูปแบบเบื้องต้น ได้แก่ การรับค่าอักขระหรือข้อความ การรับค่าตัวเลขจำนวนเต็ม และการรับค่าตัวเลขทศนิยม
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาไพทอนเบื้องต้น ในคลิปนี้จะเป็นเรื่องการใช้คำสั่งแสดงผล (คำสั่ง print) และรู้จักตัวแปรสำหรับเก็บข้อมูล
คลิปนี้จะมาแนะนำเครื่องมือหรือ editor ในการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอนครับ ใครสะดวกแบบออนไลน์ก็ใช้แบบออนไลน์ ใครสะดวกแบบออฟไลน์ก็ใช้แบบออฟไลน์ครับ